Category: โรคลมชัก Blog

โรคลมชัก (Epilepsy)

  โรคลมชัก (Epilepsy) โรคลมชักคืออะไร โรคลมชักคือ โรคระบบประสาทส่วนกลางซึ่งส่งผลให้การทำงานของสมองมีความผิดปกติ เป็นสาเหตุทำให้เกิดอาการชักหรือทำให้มีพฤติกรรม ประสาทสัมผัสที่ไม่ปกติ และบางครั้งอาจทำให้หมดสติ ทุกคนสามารถเป็นโรคลมชักได้ทั้งสิ้น  โรคลมชักอาจเกิดขึ้นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย ทุกเผ่าพันธุ์ เชื้อชาติและอายุ อาการชักมีได้หลายอาการ บางคนอาจมีอาการเพียงตาลอยสองสามวินาทีในระหว่างชัก ในบางคนอาจมีการชักกระตุกซ้ำๆที่แขนหรือขา การมีอาการชักเพียงอย่างเดียวอาจไม่ได้หมายความว่าคุณกำลังเป็นโรคลมชัก ต้องมีอย่างน้อยสองปัจจัยที่ทำให้เกิดการชักจึงจะถูกวินิจฉัยว่าเป็นโรคลมชัก การรักษาด้วยยาหรือบางครั้งด้วยการผ่าตัดอาจช่วยควบคุมอาการชักสำหรับคนที่เป็นโรคลมชักส่วนใหญ่ได้ ในบางคนอาจจำเป็นต้องได้รับการรักษาเพื่อควบคุมการชักไปตลอดชีวิต แต่ในบางคนการชักก็อาจหายไม่เป็นอีก ในเด็กที่เป็นโรคลมชักอาจหายไปได้เองเมื่อโตขึ้น ปัจจัยความเสี่ยง ปัจจัยบางอย่างอาจเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคลมชัก: ●     […]

Read more

โรคลมชักในเด็ก

  โรคลมชักในเด็ก: การวินิจฉัยและการรักษา (Epilepsy in Children: Diagnosis & Treatment) โรคลมชักคือ โรคทางสมองในเด็กที่พบได้บ่อยในสหรัฐอเมริกา – เกือบ 3 ล้านคนที่เป็นโรคนี้ (450,000 รายเป็นเด็กที่อายุต่ำกว่า 17 ปี) ประมาณสองในสามของเด็กทั้งหมดที่เป็นโรคลมชักนั้นอาการชักมักหายไปได้เองเมื่อพวกเขาเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น แต่กระนั้น ก็ยังเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับพ่อแม่ในการช่วยให้เด็กมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดีไว้และทำให้แน่ใจว่าไปพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ เกี่ยวกับโรคลมชักและการชัก โรคลมชักคือโรคทางสมองที่ทำให้เกิดอาการชักบ่อยครั้ง การชักถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าและการทำงานของสารเคมีในสมองมีการเปลี่ยนแปลง […]

Read more

การวินิจฉัยโรคลมชักในผู้ใหญ่

  การวินิจฉัยโรคลมชักในผู้ใหญ่ (Diagnosing Epilepsy in Adults) การวินิจฉัยเบื้องต้น คนที่มีอาการชักครั้งแรกในวัยผู้ใหญ่นั้นก็มีความจำเป็นต้องการตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์อย่างครบถ้วนเหมือนกับทุกคน และมีบางสิ่งสำตัญที่ต้องพิจารณาเป็นพิเศษ: ●     อาการชักเฉพาะที่ หรือที่รู้จักกันว่า การชักเฉพาะที่แบบมีสติ หรือการชักเฉพาะที่ไม่รู้สึกตัว ซึ่งเป็นอาการชักที่มักพบว่าเกิดขึ้นทั่วไปในผู้ใหญ่มากกว่าการชักแบบทั้งตัว อาการชักนี้บ่อยครั้งมักถูกมองข้ามหรือเกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นปัญหาจากสาเหตุอื่น สิ่งที่สำคัญคือควรจดสิ่งที่เห็นไว้เสมอ ○     หากเป็นไปได้ ให้ถ่ายวิดีโอด้วยกล้องหรือโทรศัพท์มือถือไว้ และนำไปให้แพทย์ทางระบบประสาทดูในนัดครั้งแรก ○     หากคุณคือผู้ดูแลที่เห็นคนที่มีอาการชักครั้งแรก ลักษณะอาการและการเฝ้าสังเกตการณ์จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ●     […]

Read more